รถ ทัวร์ กรุงเทพ สุราษฎร์ธานี vip

นายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี ประธาน ก. พ. ร. นายอนุชา นาคาศัย รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รองประธาน ก. ร. นายธีรภัทร ประยูรสิทธิ ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี กรรมการผู้ซึ่งคณะกรรมการการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมอบหมาย รองศาสตราจารย์ ดร. วรากรณ์ สามโกเศศ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านการเงินการคลัง ศ. (พิเศษ)ธงทอง จันทรางศุ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านนิติศาสตร์ นายไมตรี อินทุสุต กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านรัฐศาสตร์ หม่อมหลวงพัชรภากร เทวกุล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านจิตวิทยาองค์การ นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านเศรษฐศาสตร์ นายนรชิต สิงหเสนี นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านบริหารธุรกิจ นายบัณฑูร เศรษฐศิโรตม์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านสังคมวิทยา ศาสตราจารย์พิเศษทศพร ศิริสัมพันธ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านบริหารรัฐกิจ นายปกรณ์ นิลประพันธ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านนิติรัฐ นางสาวอ้อนฟ้า เวชชาชีวะ เลขาธิการ ก. ร. กรรมการและเลขานุการ ข่าวสารที่เกี่ยวข้อง

สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาระบบราชการ

  • Buta grill ศาลา ยา pantip
  • สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาระบบราชการ
  • สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ - วิกิพีเดีย
  • บ ข ส นครสวรรค์ พิษณุโลก
  • เกม กด 400 in 1

คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการชุดใหม่

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

เนมสเปซ หน้า อภิปราย สิ่งที่แตกต่าง expanded collapsed

ส่วนที่ ๔ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (มาตรา ๗๑/๑ - ๗๑/๑๐) | สถาบันนิติธรรมาลัย

ข้อมูลพื้นฐาน พันธกิจ: มีหน้าที่หลักในการสนับสนุนการทำงานของ ก. พ. ร. เกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการและงานของรัฐอย่างอื่น เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ มาตรา 3/1 แห่งกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ทั้งนี้ ภารกิจหลักของสำนักงาน ก. มีขอบเขตครอบคลุมในเรื่องเกี่ยวกับ 1. งานเลขานุการของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก. ) คณะกรรมการพัฒนาและส่งเสริมองค์การมหาชน (กพม. ) คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก. น. จ. ) คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค. ต. ป. ) 2. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมาย (พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี) กําหนด 2. 1 งานวิเคราะห์ วิจัยและเสนอความเห็น ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เสนอแนะ นโยบาย มาตรการ หลักเกณฑ์ เกี่ยวกับการพัฒนา ระบบราชการ ในการจัดโครงสร้างระบบราชการ การแบ่งส่วนราชการ การพัฒนาองค์การมหาชน และหน่วยงานของรัฐรูปแบบอื่น การอํานวยความสะดวกให้แก่ประชาชน การติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการ การตีความและวินิจฉัยปัญหาต่าง ๆ ต่อคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก. ) คณะกรรมการพัฒนาและส่งเสริมองค์การมหาชน(กพม. ) และคณะรัฐมนตรี ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เสนอแนะ นโยบาย มาตรการ หลักเกณฑ์ เกี่ยวกับการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ต่อคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก. )

ก.พ.ร. - วิกิพจนานุกรม

2550 ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2550 ได้กำหนดให้สำนักงาน ก. เป็นส่วนราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี ทำหน้าที่รับผิดชอบงานธุรการของ ก. และหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรือ ก. กำหนด โดยมีเลขาธิการ ก. ซึ่งเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและลูกจ้างของสำนักงาน ก. และรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ดังนั้น สำนักงาน ก. จึงถือเอาวันที่ 15 กันยายนของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสถาปนาสำนักงาน ก. ร. คณะกรรมการ [ แก้] คณะรัฐมนตรีไทย มีมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ. 2563 แต่งตั้ง คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการดังรายนามต่อไปนี้ ด้านการเงินการคลัง รองศาสตรจารย์ ดร. วรากรณ์ สามโกเศศ ด้านเศรษฐศาสตร์ นางสาว รื่นวดี สุวรรณมงคล ด้านรัฐศาสตร์ นาย นรชิต สิงหเสนี ด้านรัฐศาสตร์ นาย ไมตรี อินทุสุต ด้านนิติศาสตร์ ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ ด้านนิติศาสตร์ นาย ปกรณ์ นิลประพันธ์ ด้านบริหารรัฐกิจ ศาสตราจารย์พิเศษ ทศพร ศิริสัมพันธ์ ด้านบริหารธุรกิจ นาย ประเสริฐ บุญสัมพันธ์ ด้านจิตวิทยาองค์การ หม่อมหลวง พัชรภากร เทวกุล ด้านสังคมวิทยา นาย บัณฑูร เศรษฐศิโรตม์ รายนามเลขาธิการ [ แก้] รายนาม วาระการดำรงตำแหน่ง 1.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ - วิกิพีเดีย

2545 และ พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ. 2545 ที่มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ. 2545 โดยมาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ. 2545 ได้มุ่งเน้นให้การบริหารราชการแผ่นดินต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนและเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ และกำหนดให้มี คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก. ) เป็นกลไกขับเคลื่อนให้เกิดผลสัมฤทธิ์ดังกล่าว โดยมี สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำนักงาน ก. ) เป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาระบบราชการ ทำหน้าที่สนับสนุนการทำงานของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ในการเสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการและงานของรัฐอย่างอื่น ซึ่งรวมถึงโครงสร้างระบบราชการ ระบบงบประมาณ ระบบบุคลากร มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ค่าตอบแทน และวิธีปฏิบัติราชการอื่น ให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ. 2545 และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. 2546 จึงนับได้ว่าสำนักงาน ก. ถือกำเนิดขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2545 โดยในครั้งนั้นได้กำหนดให้สำนักงาน ก. มีลักษณะเป็นส่วนราชการในสำนักนายกรัฐมนตรีที่ไม่มีฐานะเป็นกรม ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ต่อมา พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.

อา ยา โตะ tokyo ghoul