รถ ทัวร์ กรุงเทพ สุราษฎร์ธานี vip

rapeeporn sathirakiat unread, Oct 4, 2016, 8:10:02 AM 10/4/16 to Excel_for_HR จากไฟล์ที่แนบให้ต้องการคำนวนเวลาเข้างานในช่อง D5 และเวลาออกงาน D6 เพื่อให้ได้เวลา OT โดยเวลาเข้าปกติ คือ 8. 00 - 17. 00น. และค่า OT จะคิดต่อเมื่อทำงานครบ 1ชม. ขึ้นไป คือ ถ้าเข้างานตามช่อง D9 และออกงานช่อง D10 จะมี OT = 1ชม. ทั้งนี้ไม่ทราบว่าต้องใช้สูตรไหนเพื่อหาค่าให้สะดวก และ รวดเร็วขึ้น หมายเหตุ ข้อมูลได้จากเครื่องสแกนนิ้ว คำนวนเวลา Samroeng unread, Oct 4, 2016, 8:29:24 AM 10/4/16 to Excel4HR เรียน คุณรพีพร หาชั่วโมง OT ที่ J5 =IF(ISODD(ROW()), "", MAX($C$2, MID($D5, FIND(" ", $D5)+1, 5))-$C$2) หาเวลามาสาย ที่ K5 =IF(ISODD(ROW()), "", MAX($A$2, MID($D4, FIND(" ", $D4)+1, 5))-$A$2) แล้วคัดลอกสูตรลงมา จัดรูปแบบเซลทั้งสองคอลัมน์เป็น h:mm;; อ. สำเริง ยิ่งถาวรสุข คำนวนเวลา rapeeporn sathirakiat unread, Oct 6, 2016, 12:29:06 AM 10/6/16 to Excel_for_HR เมื่อ วันอังคารที่ 4 ตุลาคม ค. ศ. 2016 19 นาฬิกา 10 นาที 02 วินาที UTC+7, rapeeporn sathirakiat เขียนว่า: ขอบคุณ อาจารย์ สำเริงมาค่ะ ได้นำมาใช้ได้ทันที และสะดวกขึ้นอย่างมาก rapeeporn sathirakiat unread, Oct 6, 2016, 12:29:11 AM 10/6/16 to Excel_for_HR ขอบคุณ อาจารย์ สำเริง มากนะค่ะ สามารถนำมาใช้งานได้ทันที เมื่อ วันอังคารที่ 4 ตุลาคม ค.

หาวิธีคำนวนเวลาเข้า-ออกงาน เพื่อคำนวนค่าล่วงเวลา

ข้อมูลต่างของพนักงาน เช่น ชื่อ รหัสพนักงาน 2. เงินเดือนของพนักงาน 3. จำนวน ชั่วโมง OT จะแบ่งเป็น 3 วันที่ทำงานด้วยกัน คือ - วันจันทร์ - ศุกร์ - เสาร์ - อาทิตย์ - วันหยุดนักขัตฤกษ์ 4. ค่าล่วงเวลา 5. ผลรวม ค่า OT และ เงินเดือน สร้างตารางข้อมูลขึ้นมา จากนั้นเราจะมาใส่สูตรในตารางข้อมูล โดยเราจะมาหาค่า OT กันก่อน โดยจะมีเงื่อนไขตามนี้ เงื่อนไข OT และวันที่ทำงาน วันจันทร์ - ศุกร์ จะได้ OT เป็น 1. 5 เท่าของ เงินเดือน เสาร์ - อาทิตย์ OT เป็น 2 เท่าของ เงินเดือน วันหยุดนักขัตฤกษ์ OT เป็น 3 เท่าของ เงินเดือน ทำงาน 30 วัน/เดือน ทำงาน 8 ชม. /วัน ตามเงื่อนไขข้างบนเราจะได้สูตรตามนี้ 1. หารายได้ต่อ ชั่วโมงก่อน โดยวิธีคิดคือ (เงินเดือน / จำนวนวันที่ทำงาน) / จำนวนชั่วโมงทำงาน = รายได้ต่อชั่วโมง 2. หาค่า OT ที่ได้ในแต่ละ วันที่ทำงาน เช่น ถ้าทำวันเสาร์-อาทิตย์ โ ดยวิธีคิดคือ (รายได้ต่อชั่วโมง * จำนวน ชม. OT ที่ทำ * 2) = ค่า OT ใน วันเสาร์-อาทิตย์ ถ้าเป็นวันจันทร์ - ศุกร์ ก็คูณ 1.

1 กรณีพนักงานรายเดือน หรือพนักงานประจำ ให้จ่ายค่าทำงานในวันหยุดไม่น้อยกว่า 1 เท่า (มาตรา 62 (1) 2. 2 กรณีพนักงานรายวัน ให้ ให้จ่ายค่าทำงานในวันหยุดไม่น้อยกว่า 2 เท่า (มาตรา 62 (2) สำหรับประเด็นที่ดิฉันยกกฎหมายมาอ้างอิงนั้น เป็นมาตรฐานขั้นต่ำที่กฎหมายกำหนด เพราะฉะนั้นไม่ต้องมานั่งถกเถียงกันว่า บริษัทนี้ให้ที่ 1 เท่า บริษัทนั้นให้ที่ 2 เท่า เพราะพื้นฐานที่ให้อยู่เพียง 1 เท่าเท่านั้นหากบริษัทใดให้มากกว่า 1 เท่าแล้ว ถือว่าเป็นคุณต่อลูกจ้าง และไม่ได้ถือว่าผิดแต่อย่างใด 3. การทำงานล่วงเวลาในวันหยุด หลังจากที่ทำงานในวันหยุดครบ 8 ชั่วโมงไปแล้ว หรือหลังเวลาเลิกงานในวันหยุดไปแล้ว หากต้องทำงานล่วงเวลา การคำนวณค่าทำงานล่วงเวลาในวันหยุดจะคล้ายๆกับการคำนวณการทำงานล่วงเวลาในวันทำงานปกติ เพียงแต่เปลี่ยนจาก 1. 5 เท่า เป็นอัตราชั่วโมงละไม่น้อยกว่า 3 (สาม) เท่า เท่านั้นเองคะ (มาตรา 63) ดังนั้น ตัวอย่างที่ยกมาข้างต้นเลย การคำนวณค่าทำงานล่วงเวลาในวันหยุดจะเท่ากับ ( อัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงปกติ คูณด้วย 3. 0 เท่า) คุณ จำนวนชั่วโมงที่ทำงานล่วงเวลา เช่น อัตราทำงานล่วงเวลาในวันปกติจะอยู่ที่ (41. 67 X 3. 0) X 1 ชั่วโมง = 125 บาท วิธีการ คิดอัตรา ค่าล่วงเวลา โอที ตามกฎหมายแรงงานกำหนด (Visited 49, 593 times, 1 visits today) เมนูนำทาง เรื่อง

Tip&Trick การใช้ Google Sheets คำนวนค่า OT แบบง่ายๆ

กรณีเป็นพนักงานรายเดือน สูตรการคำนวณ >> (เงินเดือนหารสามสิบ หารชั่วโมงทำงานปกติ) x 1. 5 หรือ 3 เท่า x จำนวนโอทีที่ทำ ตัวอย่างวิธีการคำนวณ >> (15, 000 / 30 /8) x 1. 5 หรือ x 3 x จำนวนโอทีที่ทำ หลังจากคำนวณตามสูตรจะได้ค่าทำโอที กรณี x 1. 5 เท่า จะได้ 93. 75 บาท/ชั่วโมง จากนั้น x จำนวนโอทีที่ทำ กรณี x 3 เท่า จะได้ 187. 5 บาท/ชั่วโมง จากนั้น x จำนวนโอทีที่ทำ สนใจโปรแกรมเงินเดือน BeeHR 2. กรณีเป็นพนักงานรายวัน สูตรการคำนวณ >> (ค่าจ้างต่อวัน หารชั่วโมงการทำงานปกติ) x 1. 5 หรือ 3 เท่า x จำนวนโอทีที่ทำ ตัวอย่างวิธีการคำนวณ >> (500 / 30) x 1. 5 หรือ x 3 จำนวนโอทีที่ทำ หลังจากคำนวณตามสูตรจะได้ค่าทำโอที กรณี x 1. 5 เท่า จะได้ 25 บาท/ชั่วโมง จากนั้น x จำนวนโอทีที่ทำ กรณี x 3 เท่า จะได้ 50 บาท/ชั่วโมง จากนั้น x จำนวนโอทีที่ทำ ในกรณีที่คุณต้องมาทำงานในวันหยุดจะมีวิธีการคำนวณ ดังนี้ ลูกจ้างที่มีสิทธิ์ได้รับค่าจ้างในวันหยุด เช่น พนักงานรายเดือน จะได้รับค่าตอบแทนการทำงานในวันหยุด ไม่น้อยกว่า 1 เท่า สูตรการคำนวณ >> (เงินเดือนหารสามสิบ หารชั่วโมงการทำงานปกติ) x 1 เท่า x จำนวนชั่วโมงการทำงาน ตัวอย่างวิธีการคำนวณ >> (15, 000 / 30 /8) * 1 * 8 3.

เพิ่งได้รับสลิปมามีข้อสงสัยเกี่ยวกับการคำนวนโอทีค่ะ ปกติคือคิด เงินเดือน/30/8*1. 5 ในสลิประบุโอที1. 5 3 ชม. 392. 01 อยากรู้ว่าคิดชม. ล่ะเท่าไหร่ถ้าไม่มี1. 5เปอร์เซ็น ขอบคุณค่ะ แสดงความคิดเห็น

  • พจนานุกรม Coffee คือ แปลภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ความหมาย Dictionary แปลว่า คำแปล
  • Central the 1 luxe โทร restaurant
  • หวยเทวาโชคลาภ แหล่งรวมหวยเด็ดเลขดัง ดูเลขเด็ดเทวาโชคลาภ เลขท้าย 3 ตัว และ 2 ตัว หวยอาจารย์มงคล ติดตามหวยเด็ดเทวาโชคลาภมาแรง สรุปสถิติหวยดับเทวาโชคลาภฟรี
  • หู ฟัง airpods ราคา ถูก ของ แท้ ฟรี

วิธีคำนวณระยะเวลาทำงาน แบบมีช่วงเวลาหยุดพัก - เทพเอ็กเซล : Thep Excel

2016 19 นาฬิกา 10 นาที 02 วินาที UTC+7, rapeeporn sathirakiat เขียนว่า: จากไฟล์ที่แนบให้ต้องการคำนวนเวลาเข้างานในช่อง D5 และเวลาออกงาน D6 เพื่อให้ได้เวลา OT โดยเวลาเข้าปกติ คือ 8. 00น.

ข้อมูลต่างของพนักงาน เช่น ชื่อ รหัสพนักงาน 2. เงินเดือนของพนักงาน 3. จำนวน ชั่วโมง OT 4. ค่าล่วง เวลา ชั่วโมงละ 5.

ลดการคลิกเมาส์หลายร้อยครั้งสำหรับคุณทุกวันบอกลามือเมาส์ เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของคุณได้ถึง 50% เมื่อดูและแก้ไขเอกสารหลายฉบับ นำแท็บที่มีประสิทธิภาพมาสู่ Office (รวมถึง Excel) เช่นเดียวกับ Chrome, Firefox และ Internet Explorer ใหม่

Click to rate this post! [Total: 5846 Average: 5] ค่าล่วงเวลา หลังเที่ยงคืน มีหลักเกณฑ์การกำหนด ค่าล่วงเวลา หลังเที่ยงคืนหรือเปล่า บริษัทเปิด 8-5 โมงเย็น – ในกรณีที่นายจ้างต้องจ่ายค่าล่วงเวลาในอัตราไม่น้อยกว่า 3 เท่า ต้องเป็นในกรณีที่เป็นวันหยุดนักขัตฤกษ์ ลูกจ้างไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด – ถ้านายจ้างให้ลูกจ้างทำงานเกินวันละ 8 ชม. นายจ้างต้องจ่ายค่าล่วงเวลา 1. 5 เท่า ของค่าจ้างของลูกจ้าง พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ. ศ. 2541 มาตรา 61 ถ้านายจ้างให้ลูกจ้างทำงานเกินวันละ 8 ชม. 5 เท่า ของค่าจ้างของลูกจ้างค่ะ แต่ ถ้าในกรณที่ทำงานล่วงเวลาเกิน 8 ชม. นายจ้างต้องได้รับความยินยอมจากลูกจ้าง และ นายจ้างต้องจ่ายค่าล่วงเวลาในอัตรา 3. 0 เท่าของค่าจ้าง พรบ. 2541 มาตรา 61 การคำนวณค่าจ้างในการทำงานล่วงเวลา การทำงานล่วงเวลา หรือทำงานพิเศษนั้น ผมขอจำแนกตามกฎหมายออกเป็น 3 ประเภทคือ 1. การทำงานล่วงเวลาในวันปกติ 2. การทำงานในวันหยุด 3. การทำงานล่วงเวลาในวันหยุด ซึ่งจะขออธิบายการคิดคำนวณเป็นข้อๆ ดังนี้ 1. การทำงานล่วงเวลา การทำงานที่เกินจากการทำงานเวลาปกติไปแล้ว พรบ. คุ้มครองแรงงานมาตรา 61 กำหนดให้นายจ้างต้องจ่ายค่าจ้างไม่น้อยกว่า 1.